ผู้ติดตาม

วันอาทิตย์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2566

สโคป Oscilloscope

4 กันยายน 2567..มาอัพเดตต่อจากเมื่อวาน..เมื่อพร้อมใช้งานแลัว..แน่นอน Oscilloscope แต่ละยี่ห้อแต่ละรุ่นปุ่มต่างๆคำสั่งต่างๆย่อมไม่เหมือนกันคงลงทั่งหมดไม่ได้..ถ้าต้องการแบบละเอียดดูคู่มือว่าเครื่องท่านมีปุ่มอะไรบ้างชื่อเรียกอย่างไรเพราะไม่เหมือนกันแน่นอน(หรือทักมาหาผมนะครับ). ชื่อเรียกอาจไม่เหมือนแต่หลักการทำงานเหมือนกัน
     ปุ่มชื่อต่างๆเยอะ เอาง่ายๆคือ แนวนอนและแนวตั้ง..หมายความถึงและเราจะใช้ปุ่มไหนในการตั้งค่า.เพื่อไปจิ้มวัดสิ่งที่เราต้องการ..ตัวอย่างจะเอาง่ายๆไปหายากๆ..แน่นอนถ้าไม่ติดตามโดยตรงก็อาจไม่สามารถวัดสิ่งตรงหน้าได้ (คำเรียกของผมไม่เน้นหลักการแต่เน้นใหัท่านที่อ่านนำไปใช้งานตั้งค่าเป็นและนำไปวัดกับเครื่องตรงหน้าได้)
แนวตั้งสีแดงคือความแรง AmpL.. มีค่าเป็นVเช่น 100MV, 500MV, 1V, 50V ชุดนี้ต้องปรับตั้งค่า ปรับตั้งค่าอย่างไร.ใช้ปุ่มไหนปรับ.แน่นอนปรับไม่เป็นอาจทำใหัสโคปเสียเช่นกัน
     ส่วนสีเขียวคือความถี่มีค่าเป็นHzเช่น .90Hz,10.00Hz,1,000Hz,10,000Hz,9,999,999Hz,  ชุดนี้ต้องปรับ ปรับตั้งค่าอย่างไร ใช้ปุ่มไหนปรับ
      ส่วนรูปที่เห็นคือคลื่น..เช่น Sine, SQUF, TRGL..ตรงนี้เราไม่ต้องปรับอะไร..จุดที่เราวัดจะแสดงใหัเห็นเอง
    ต่อไปเอาของจริงสิ่งที่เราต้องการมาวัดกัน..ว่าสิ่งที่ผมแนะนำง่ายๆจริงไหม..นั้นหมายความว่า..ไม่ว่าท่านจะใช้เครื่องมือใดๆต้องตั้งค่าเป็นและรู้จุดที่ต้องการใข้งาน เช่นเครื่องมือใช้กับรถไฟฟ้าทุกระบบใหม่ล่าสุดอุปกรณ์ต่างๆมาใหัครบมีแนะนำการใช้งาน จุดต่างๆแต่นั้นคือกว้างๆ..ต้องของจริงเครื่องจริงปัณหาจริง..แม้จะมีเครื่องมือดีแต่ใช้ไม่เป็น..ก็เหมือนมีของประดับบารมีแค่นั้น..ข้อเปรียบเทียบนะครับ เครื่องมือเหล่านี้มิใช่เสียบแลัวหน้าจอขึ้นบอกว่าดีว่าเสีย..แต่จะบอกเป็นภาษาช่างของระบบนั้น
  ตัวอย่างของจริงวัดจริงใช้สโคปจริง
ตามรูปคือต้องการวัด X1แน่นอนต้องเข้าใจก่อนว่าX1คืออะไร..คือX'tal. ค่าคือ12.000MHzจะมี2ขาสังเกตคือมีด้านC4และด้านC5
    เผื่อท่านไม่อ่านบทความเก่า..เลยแนะนำอีกครั้ง การตั้งค่า Oscilloscope 
1.รู้สิ่งที่จะวัดว่าคืออะไร =X'tal
เสียบไฟเข้าใหัเครื่องทำงาน
2.เราต้องรู้คร่าวๆว่า ต้องมีค่าเท่าไรอย่างไรแบบไหน=12MHz
3.ตั้งค่าสโคปอย่างไร..ใช้CH1หรือ2ก็ปรับใหัตรง ตัวอย่างCH1ทั้ง2ตัวอย่างทั้ง2ยี่ห้อ
=แนวตั้งคือVควรตั้งใหัสูงไว้ก่อน เช่น5-10V. 
แนวนอน ปรับส
Scaleมาที่50-100nS 
ตัวโพรบตั้งที่X10หรือ10K 
ไม่ว่าจะยี่ห้อไหน. รุ่นไหนถ้าเป็นดิจิตอลจะบอกเราแบบละเอียด เป็นภาษาช่างมิใช่บอกน่าจอว่าดีหรือเสีย
ภาษาช่าง..เช่นFคืออะไร,ได้เท่าไร 
จิ้มลงไปที่ขาจะบนหรือล่างก็ได้
ซึ่งจะมีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย.แลัวมาดูที่หน้าเครื่งสโคปบอกแบบไหนบ้างทั้ง2ยี่ห้อบอกเราอย่างไรเหมือนกันไหม..แน่นอนแต่ละยี่ห้อค่าทีาเรมตั้งอาจโชว์ต่างกัน
ถ้าบอกเราคือ12MHzนั้นหมายความว่า X'tal ดีนั้นเองและยังมีค่าอื่นๆบอกเราอีกว่าตรงที่เราวัดมีอะไรบ้าง(อยู่ที่เราตั้งค่าใหัโชว์มากน้อย)
ส่วนการตั้งค่าวัดชุดอื่นๆจะมาแนะนำในครั่งต่อไป..ส่วนรุ่นไหน ยี่ห้อไหนดี..มีความเทียงตรงแค่ไหนทักมาครับ..ถ้าเราไม่มีสโคปละใช้มิเตอร์วัดได้ไหม..เอาจริงๆเลยบ้างจุดจะไม่ได้เอามิเตอร์จิ้มเครื่องตัดดับเลยและจะพาหลงทางทันที

3 กันยายน 2567..1ปีพอดีที่ไม่ได้มาอัพเดต Oscilloscope  เรียกง่ายๆสโคป..มีไว้เพื่ออะไร.มีมากมายหลายแบบ.หลายรุ่นหลายยี่ห้อหลายค่า แลัวจะเลือกแบบไหน..คำถามนี้ตอบง่ายๆแบบไหนก็ได้ถ้าเราใช้เป็นถ้าเราใช้ไม่เป็นเครื่องละเป็นแสนก็แค่เอามาตั้งโชว์..แต่ถ้าเราใช้เป็นตัวละพันกว่าก็สบายแลัว..แม้ไม่มีเลยยังแนะนำได้ถ้ามีคุณสมบัติครบ..แต่มีแค่มิเตอร์ตัวเดียวแบบนี้ถือว่าเป็นมิฉฉาชีพแน่นอนทักมาบล็อกนะครับ
   คำถามต่อไป..จิ้มแลัวรู้เลยไหมดีหรือเสีย.ตอบรู้ครับแต่คือภาษาสโคปมิใช่ภาษาคน...ใช้งานอย่างไรตั้งค่าแบบไหนเห็นคนอื่นๆมีเลยซื้อบ้าง...พูดภาษาชาวบ้าน สโคปมิใช่จิ้มลงไปแลัวขึ้นหน้าจอว่าดีหรือเสีย..เหมือนเครื่องมือสแกนรถไฟฟ้า..เสียบเข้าไปก็มิได้บอกว่าอะไรดีอะไรเสียถ้าเราไม่มีหลักการ..อ่านสิ่งที่ปรากฏบนหน้าจอไม่ได้ ..ถ้ายังบอกไม่เข้าใจง่ายๆ..สิ่งที่เราเห็นบนมือถือ..บนคอม..จะต้องมีภาษาเครื่องที่ระบบเข้าใจความหมาย..เรียกโค๊ต.ถ้าคอมเรียกภาษาคอมเป็นต้น..ถ้าเราไม่เข้าใจโค๊ต..ก็จะแก้ปัณหานั้นๆไม่ได้..เยอะยิ่งอ่านก็ยิ่งงง.แบบนี้เรียกหลักการวิชาการ.แต่ที่ผมจะแนะนำคือแบบง่ายๆกว้างๆ สรุปแบบกว้างๆคือ
1.จะจิ้มจุดไหนเราต้องเข้าใจก่อนว่าจุดนั้นคืออะไร. เรียกว่าอะไร ทำงานอย่างไร ต้องมีรูปแบบที่จะปรากฏแบบไหน.ชุดเข้า ชุดออก.จุดที่วัดหมายถึงต้องได้รูปคลื่นแบบไหนดี แบบไหนเสีย..จิ้มแลัวดีอะไรเสีย แต่ละค่าความหมายที่วงนั้นหมายถึงเราต้องเข้าใจก่อน จิ้มแลัวได้แบบไหนหมายถึงชุดไหนมีปัณหา..ไล่ต่อที่จุดไหนอีกเป็นต้น เพื่อบีบหาว่าอาการเสียแบบไหน อะไรเสีย ฉนั้นตัวสโคปจึงมิใช่จิ้มแลัวหน้าเครื่องขึ้นว่าดีหรือเสีย
2.ตั้งเครื่องมือ ตั้งค่าสโคปวัดแต่ละจุดอย่างไร..หรือจะซ่อมรถไฟฟ้าก็ต้องเข้าใจว่าจุดที่ต้องการแบบไหน ตั้งค่าอย่างไรนั้นเอง
3.ต่างยี่ห้อต่างรุ่นการตั้งค่าต่างกัน..ผู้ใช้งานต้องตั้งเป็น  เช่นOWON 100MHz,1GSa/s
กับ
FNIRSI-1014D 100MHz, 1GSa/s
ตัวอย่าง 2ยี่ห้อ..เราจะวัด จะดูจะจิ้มตรงไหนต้องเข้าใจเสียก่อนว่าต้องต้องค่าอย่างไร เช่นจะวัดชุดนี้ต้องตั้งค่าที่สโคปอย่างไร.แต่ละปุ่มที่เครื่องต้องปรับอย่างไรเพราะต่างยี่ห้อก็ต่างกันแลัว .OWON SDS1102มีหน้าคาปุ่มต่างๆ.มีอักษรกำไว้ไว้ พอมาเป็น FNIRSI-1014Dหน้าตาปุ่มต่างๆคำย่อที่ต่างกันแน่นอนเพียงเราเข้าใจดังที่จะแนะนำต่อไปคือแบบง่ายๆก็บอกเลยไม่ยาก..เมื่อปรับตั้งค่าแลัวจิ้มวัด.สิ่งที่ได้แบบไหน..นั้นหมายความว่าเราต้องรู้ก่อนว่าดีแบบไหนหรือสิ่งที่วัดได้คือน่าจะดีหรืองงต่อไป..เพราะถ้าเราไม่รู้สิ่งที่เห็นเราจะสรุปได้อย่างไรว่าดีหรือไม่ดี..ง่ายๆครับ คือจุดไหนต้องรู้ก่อน..ต่อมาตั้งค่าสโคป ใช้CH1, CH2หรือจะวัดพร้อมๆกัน
แต่ละยี่ห้อชุดCH1และ2จะไม่ต่างกันทั้ง2CH..ต่อไปสายโพรบก็ต้องตั้งค่าเสียก่อนFNIRSI-1014Dสีเหลืองปรับจะมีบอกคือ1X, 10X ตั้งผิดผลก็จะได้ต่างกันทุกยี่ห้อใกลัเคียงกัน.ชุดนี้ของOWON ปุ่มปรับสี้น้ำเงิน มีบอกX1, X10อีกคนไปอย่างนี้ไงถึงบอกต้องเชื่อมั่น 
วัดผลที่ได้..จะมี..รูปคลืน จะมีค่าต่างไที่เราตั้งไว้บอกอีก สโคปรุ่นใหม่มีบอกครับ..ฉนั้นจึงง่ายมากถ้าเราเข้าใจหลักการเสียก่อน เช่นตัวอย่างนี้ต่อสายโฟรบเข้าไป ต่อไปกดเปิดเครื่องและเริ่มใข้งาน. เราต้องรู้อะไรบ้างก่อนจะไปจิ้มตำแหน่งที่ต้องการ
เวลาน้อยอาจไม่ละเอียดมาก..เอาแน่นอนคือทักมาทำใช้งานพร้อมกันก็จะไม่พลาด
ครั้งต่อไปมาตั้งค่าและวัดของจริงกันไม่ว่ายี่ห้อไหนรุ่นไหน..ง่ายมากแค่ทำตามแนะไม่ใช้หลักการเยอะปรับวัดได้จบดีไม่ดีมาจิ้มวัดตั้งค่าตรงไหนต่อง่ายมากครับ ถ้าต้องการด่วนทักมา

3 กันยายน2566..เครื่องมือดีมีชัยไปกว่าครึ่ง..แน่นอนงานซ่อมต้องมีเครื่องมือ..วันนี้จะมาขอแนะนำเครื่องมือที่หลายคนอยากได้คือสโคป..Oscilloscope แบบย่อๆครับ แต่มีเยอะช่างที่ใช้ไม่เป็น. วีดีโอดูชมได้ที่ไลน์วูม หรือในติกต๊องนะครับ
นะครับและช่างบ้างท่านไม่มีถามบอกเงินไม่มีแต่มีเงินแจกสาวเครื่องมือไม่หาซื้อแจกสาวมี..สมาชิกยินดีแนะนำการใช้งานทุกขั้นตอน โดยไม่จำเป็นต้องซื้อที่ผม. สนใจลองเข้าไปดูครับ
.สโคปมีหลากหลายรูปแบบ สโคปมีหลากหลายยิ่งค่าสูงๆก็จะราคาสูงตามความเม่นยำสูงๆค่าสูงๆก็จะยิ่งสูงขึ้นไปอีก..แน่นอนของใหม่ก็ต้องเอาใหม่ๆคือแบบดิจิตอลสโคป จิ้มปุ้ปขึ้นค่ามา
บอกเราหมดเลยดูตัวอย่างครับ..การจะขึ้นค่าใดๆบ้าง ก็ต้องอยู่ที่การตั้งค่าสโคปและความสามารถของสโคปเครื่องนั้นๆด้วยนะครับ.เราตั้งแบบไหนก็จะขึ้นค่านั้นๆโชว์ออกมาทุกยี่ห้อครับถ้าดิจิตอลสโคปจะโชว์ตามที่ตั้งใหัเห็นเลย เวลาเราซื้อเขาจะมีคู่มือมาใหัส่วนมากจะเป็นภาษาอังกฏษ เช่น
1: Run/pause button
2:One key automatic adjustment  button 
มีเยอะแลัวแต่ยี่ห้อนั้นๆ
เราก็ต้องเข้าใจความหมายและแปลได้อย่างถูกต้อง เช่น
หัวข้อที่38:the measurement parameters selection button  in column 6
แน่นอน ถ้าแปลจนงง ทำก็ไม่ได้ตั้งค่าวัดก็ไม่ได้ มาเข้ากลุ่มช่างก่อนครับ. ของจริงใข้งานจริง แนะนำเร็วและไม่หลงทาง ภาษาไม่จำเป็น ประสบการณ์และเทคนิดลับสำคัญกว่า เช่นจะวัดความถี่CLKต้องปรับค่าScale และTrigger ตลอดจนค่าVอย่างไรที่เหมาะสมและถูกต้อง..มีสโคปตัวเดียววัดได้ทุกๆอย่าง อย่างที่บอกนะครับต้องตั้งค่าที่ถูกต้องและเข้าใจความหมายนั้นๆ เช่น5V/div. หมายถึงVต่อช่องนะครับภาษาชาวบ้าน อีกมากมาย ของจริงปรับจริงวัดเครื่องตรงหน้า..นั้นแหละครับคือความรู้จริงและเป็นจริง
.รูปอาจไม่ค่อยชัดนิดถือว่าเอาเป็นแนวทางแลัวกันนะครับ...นั้นหมายความถ้าเราตั้งค่าถูกต้อง พอเราทำการตรวจสอบเครื่องจิ้มตามจุดต่างๆตำแหน่งที่สโคป
ก็จะบอกค่าต่างๆขึ้นมาเลย(นั้นหมายความว่าเราก็ต้องรู้ค่าที่ถูกต้องต้องจุดนั้นๆด้วยว่าดีคืออย่างไรแบบไหน..ตามรูปที่เห็นสโคปจะเห็นว่ามีหลายค่า สองตัวก็มีรูปคลื่นที่ต่างกัน..เราก็ต้องเข้าใจความหมายรูปคลื่น และตัวย่อเหล่านั้นก่อนใหัดีเช่นกัน ยกตัวอย่างสักนิด
F=Frequency ตัวนี้สำคัญสุดเพราะจะบอกเราได้เลยว่ามาหรือไม่มา..PK-PK(Vpp)  คืออะไร Max(Ma)  หรือPeriod(T)เป็นต้น..เมื่อพอเข้าใจการใช้งานสโคปแลัว(แบบย่อๆครับสมาชิกแบบละเอียดจิ้มจริงปรับค่าเพื่อใช้งานเครื่องตรง) ต่อไปคืออาการเสีย ทีวีประเภทไหน และต้องใช้งานสโคปจิ้มตรงไหน เราก็ต้องเข้าใจการทำงานเข้าใจวงจรต่างๆ เมื่อจิ้มขึ้นรูปแบบต่างๆเช่นความถี่แรงไฟมาถูกต้อง เราก็ไล่ลำดับต่อไปว่าข้อมูลไหนหายไปตรงไหน..อาการเสียนี้จุดเสียอยู่ตรงไหน...ครับง่าย มากๆช่วยเราได้เยอะประหยัดเวลาและหาจุดเสียได้อย่างรวดเร็ว...เป็นช่างต้องมีครับ ถ้าเงินน้อยสาวก็ไม่เคยแจกใช้มิเตอร์ที่วัดความถี่ได้แบบนี้ครับก็พอได้อยู่ถ้ามีคนที่มีความชำนาญคอยช่วยเหลือแนะนำทุกขั้นตอน...เป็นช่างมีแต่ลิ้นกับนิ้วถามเขาอย่างเดียว..แบบนี้จะถูกมองว่าคือมิฉฉาชีพนะครับ..เป็นช่างภาษาอะไรไม่มีเครื่องมือเลย...นี้ไงครับความจริงว่าทำไมผมถึงมีผู้เยี่ยมชมมากมายและอยู่ได้ยาวนาน...คนทำงานจริงเจ้าหน้าทีรัฐมากลั่นแกล้งไม่ได้หรอกครับสมัยนี้..กล้องแอปถ่ายติดไว้ต้องไหนบ้างก็ไม่รู้..เราอย่าไปเอามือถือครับต้องกล้องแอบถ่ายรับรองว่า พี่ชูก็สู้เราไม่ได้ใครไม่รู้จักพี่ชู แสดงว่าเพิ่งเกิดได้ไม่นาน...การทำงานต้องมีหลักการมีความรู้..เครื่องมือดี มีประสบการณ์สูงๆมีเทคนิดในการเทสตรวจสอบ...อาการเสีย ทีวีไฟกระพริบ...ไล่อย่างไร..เริ่มตรงไหน..แน่นอนไม่มีความรู้..ไม่มีเครื่องมือเจ้าของคนใช้งานดูอย่างเดียวไม่ว่ากันครับ...แต่เป็นช่างไม่ได้ต้องมี..สนใจเข้ากลุ่มช่าง อะไหล่คืนได้ ทุกปัณหาแนะนำทันใจ...เพิ่มเพื่อนด้วยไลน์ไอดี tv-service หรือสแกนคิวอาร์โค๊ตไม่ผิดคนครับ..พิมพ์ตกหลุนผิดพลาดบ้างก็ขออภัยนะครับมือถือหน้าจอเล็กไปนิด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น